

จากรูปที่ 1 เมื่อใส่ Material ลงไป วัตถุยังไม่เรืองแสง ชัดเจนนัก ต้องทำการเปิด GI ด้วย
เมื่อเปิด GI แล้วจะเห็นได้ว่า วัตถุทำการเรืองแสง สะท้องแสงออกมาได้
ส่วนค่า IOR ที่แปลกๆ อย่างเห็นแตกต่างกับตัวอื่นก็น่าจะเป็น ค่า 0 กับ 1 ตามตัวอย่าง
อันนี้มีค่า IOR เท่ากัน 0 เหมือนแสงหักเหแปลกๆ เหมือนหักเหจนแสงบนท้องฟ้ามาอยู่ด้านหน้าเลย
อันนี้มีค่า IOR เท่ากัน 1 เหมือนวัถตุจะล่องหนไปอย่างนั้น
Glossiness โดยค่าอีกชนิดหนึ่งที่อยู่ในหมวดของ Refraction
โดยคำว่า Gloss แปลว่า ความแววาว,ผิวเป็นมันเงา
Glossiness น่าจะแปล่วา ไม่มีความแวววาว
Glossiness = 1.0
ต่อมาเราปรับค่า ให้เป็น .5 จะเห็นได้ว่าวัตถุนั้นมีขุ่นมากขึ้น
สุดท้ายปรับค่าเป็น 0.0 วัตถุนั้นกลายเป็นวัถตุที่โปรงแสงอย่างสมบูรณ์ ไม่สามารถมาเห็นข้างหลังได้
Glossiness = 0.0
ส่วนรูปนี้เป็นการกำหนดให้วัตถุมีค่าสีด้วยโดยให้เป้นสีน้ำเงิน ซึ่งก็เจอแสดงให้เห็นในส่วนที่ไม่ใช่สีขาวนั้นเอง
3. หน้าต่างให้เลือก ชนิดของ Material และให้หา คำว่า VRayMtl
ถ้าในกรณีไม่เจอ VRayMtl ให้กลับไปดู ที่หน้า Render setup ว่าเปลี่ยนเป็น V-ray ยัง
4. เมื่อเลือก VRayMtl แล้ว หน้า Material Editor เปลียนเป็นตามรูป
เมื่อเปลียน หน้า Material Editor จะเปลี่ยนเป็น ค่าต่างๆ ของ วัสดุของVray ซึ่ง สามารถตั้งค่าต่างๆ ได้
โดยค่า ต่างได้แก่ ค่าสีผิว ค่าโปรงแสง ค่าโปรงใส เป็นต้น ซึ่งจะอธิบายเพิ่มเติมในบทความต่อๆ ไป